from sympy import symbols, Eq, solve
6 เงินงวดถาวร (Perpetuities)
6.1 แนวคิดของเงินงวดถาวร (Concept of Perpetual Annuities)
ในความหมายงง่ายๆ ก็คือถ้าอัตราดอกเบี้ยไม่มีการเปลี่ยนแปลง เราสามารถถอนเฉพาะดอกเบี้ยที่ได้รับออกมาเท่านั้น ซึ่งส่งผลให้เงินต้นไม่ลดและจะได้ได้รับดอกเบี้ยเท่าเดิมตลอดไป จนกว่าอัตราดอกเบี้ยจะมีการเปลี่ยนแปลงนั่นเอง
เงินงวดถาวร (Perpetuity) หมายถึง ชุดของเงินงวดที่จ่ายตลอดไปโดยไม่มีวันสิ้นสุด โดยมีค่างวดเท่ากันในทุกช่วงเวลา เช่น ถ้าต้องการได้รับเงิน
ซึ่งเป็นอนุกรมเรขาคณิตที่ลดลง โดยที่:
ค่างวดที่ได้รับ ตัวลดค่า อัตราดอกเบี้ยต่อช่วง
สามารถใช้ซิมไพหาคำตอบได้ ดังนี้
from sympy import Sum, oo, simplify
= symbols('i k a_n', positive = True)
i, k, a_n = 1/(1+i)
v = Sum(v**k, (k, 1, oo))
a_n a_n.doit()
สามารถจัดให้อยู่อย่างง่ายด้วยคำสั่ง simplify()
simplify(a_n.doit())
จะได้ผลลัพธ์ตรงตามทฤษฏี
6.2 เงินงวดถาวรที่เริ่มล่าช้า (Deferred Perpetuities)
ให้ผู้อ่านนึกถึง การฝากเงินในวันนี้เป็นเวลา
นั่นคือหากเงินงวดถาวรไม่ได้เริ่มจ่ายทันที แต่เริ่มหลังผ่านไป
ซึ่งแสดงให้เห็นว่าการเลื่อนการจ่ายเงินจะลดมูลค่าปัจจุบันลงตามตัวลดค่า
6.3 การประยุกต์ (Applications)
การประเมินมูลค่าหุ้นที่จ่ายปันผลคงที่ตลอดไป
กองทุนที่ให้ผลตอบแทนรายปีแบบไม่จำกัด
เงินบริจาคถาวรที่จ่ายผลตอบแทนให้หน่วยงานหรือบุคคลตลอดชีวิต
6.4 แบบฝึกหัดท้ายบท
อธิบายความหมายของเงินงวดถาวร (Perpetuity) พร้อมยกตัวอย่างการใช้งานจริง เช่น หุ้นกู้ที่จ่ายดอกเบี้ยตลอดไป
ใช้ซิมไพเพื่อคำนวณมูลค่าปัจจุบันของเงินงวดถาวรที่จ่าย 1,000 บาทต่อปี เมื่ออัตราดอกเบี้ยเท่ากับ 5% ต่อปี
หามูลค่าปัจจุบันของเงินงวดถาวรที่เริ่มจ่ายหลังจาก 5 ปี ด้วยเงินงวด 1,000 บาท และ i = 6%
เงินงวดเพิ่มขึ้นแบบเลขคณิต (Arithmetic Increasing Perpetuity) จงคำนวณมูลค่าปัจจุบันของเงินงวดถาวรที่เพิ่มขึ้นปีละ 100 บาท เริ่มจาก 100 บาท โดยใช้ซิมไพ
เงินงวดเพิ่มขึ้นแบบเรขาคณิต (Geometric Increasing Perpetuity) ถ้าเงินงวดเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ตามอัตรา 3% ต่อปี และเริ่มจาก 1,000 บาท ให้นิยามสูตรและคำนวณด้วยซิมไพ
สร้างฟังก์ชันโดยใช้ซิมไพ สำหรับมูลค่าปัจจุบันของเงินงวดถาวรทั่วไปที่รับ
R
และi
แล้วคืนค่ามูลค่าปัจจุบันของเงินงวดถาวรเปรียบเทียบมูลค่าปัจจุบันของเงินงวดถาวรเมื่ออัตราดอกเบี้ยเปลี่ยน
โดยคำนวณและเปรียบเทียบว่า PV ต่างกันอย่างไรเมื่อ i = 3%, 5%, และ 8%
- วิเคราะห์ความไวต่อดอกเบี้ย (Sensitivity Analysis)
นิยามฟังก์ชัน diff()
เพื่อดูว่า PV เปลี่ยนแปลงเร็วเพียงใดเมื่อ i เปลี่ยน
- การประยุกต์ใช้งานจริง
ให้นักเรียนค้นหาตัวอย่างจากข่าวสารหรือการเงินจริง เช่น perpetual bonds หรือ preferred stocks แล้ววิเคราะห์ PV ของสินทรัพย์นั้นด้วยสูตรจากบทนี้
- แสดงว่าเมื่อ
, โดยใช้limit()
จากชิมไพ